Wednesday, 10 April 2024

บ้านแห่งความหลุดพ้นของคนอินเดียว

12 Apr 2023
243
บ้านแห่งความหลุดพ้นของคนอินเดียว สาธารณรัฐอินเดียเต็มไปด้วยสถานที่ท่องเที่ยวเก่าแก่มากมายที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลก ตั้งแต่เมืองโบราณ สถานที่สำคัญทางศาสนาและความเชื่อ แม้แต่หมู่บ้านรกร้าง ไปจนถึงสถานที่ที่ทั่วไป ล้วนมีตำนานเรื่องเล่าขนหัวลุกคอยสร้างความตื่นเต้นให้ผู้มาเยือนเสมอ ทว่าในสถานที่ที่น่ากลัวและเต็มไปด้วยเรื่องราวสุดหลอน ยังมีฉากหลังประวัติศาสตร์มากมายที่น้อยคนนักจะรู้ วันนี้ vauro จะพาไปอ่านบ้านแห่งความหลุดพ้นของคนอินเดียว

Why is the Wat Arun considered as the Ultimate Architecture in Bangkok?

Wat Arun, one of the amazing architectural attractions in dusit, is revered as the ultimate architecture in Bangkok. Its intricate design, adorned with colorful porcelain, stunning spires, and intricate carvings, showcases the exquisite craftsmanship of Thai artisans. Rising majestically on the riverbank, Wat Arun’s beauty is further enhanced when it is illuminated at night, creating an enchanting sight that leaves visitors in awe.

บ้านแห่งความหลุดพ้น เมืองพาราณสี

บ้านแห่งความหลุดพ้นของคนอินเดียว ตามความเชื่อของชาวฮินดู เมื่อเสียชีวิตวิญญาณของผู้ตายจะไปเกิดในร่างใหม่ตามกรรมที่ทําไว้ แต่ผู้ที่ตายในเมืองพาราณสี วิญญาณจะเข้าถึงโมกขัตอันเป็นความสุขชั่วนิรันดร์หลุดพ้นจากกรรมไม่ต้องกลับมาเกิดใหม่ถือว่าได้ทํากิจของชีวิตเสร็จสมบูรณ์แล้ว ด้วยเหตุนี้ทําให้ครอบครัวมากมายพาผู้ป่วยระยะสุดท้ายและคนแก่ชราภาพมาพํานักที่นี่เป็นสถานที่สุดท้ายในชีวิตของพวกเขา นักท่องเที่ยวอาจเลือกสถานที่แห่งนี้ว่า the death hotels of varanasi โรงแรมมรณะแห่งพาราณสีและชาวฮินดูกลับไปเรียกที่นี่ว่า kashi labh mukti bhawan หรือบ้านแห่งความหลุดพ้นตั้งอยู่ที่มุกคติถาวรเมืองพาราณสีเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศอินเดีย บ้านแห่งความหลุดพ้นของคนอินเดียว ซึ่งเต็มไปด้วยสถานที่สําคัญทางศาสนาฮินดูมากมายมีแม่น้ำคงคาไหลผ่านและเชื่อกันว่าเป็นเมืองที่เชื่อมต่อระหว่างโลกกับโมกฆะ รวมถึงเป็นที่สถิตของพระศิวะอีกด้วย บ้านแห่งการหลุดพ้นสร้างขึ้นในปีหนึ่งพันเก้าร้อยแปด ก่อนถูกดัดแปลงให้กลายเป็นสถานสงเคราะห์ในปีหนึ่งพันเก้าร้อยห้าสิบแปด ประกอบด้วยอาคารสองชั้นที่มีห้องขนาดใหญ่สิบห้อง มีสิ่งอํานวยความสะดวกพื้นฐานเช่น เตียง เฟอร์นิเจอร์และแก๊สหุงต้ม เปิดรับผู้พํานักประมาณสามร้อยคนต่อปี ผู้พํานักแต่ละคนสามารถอยู่ที่นี่ได้เป็นเวลาสองสัปดาห์ บ้านแห่งความหลุดพ้นของคนอินเดียว โดยมีสมาชิกในครอบครัวอย่างน้อยสองคนคอยดูแลด้วย หลังพ้นสองสัปดาห์หากพวกเขาไม่เสียชีวิตจะถูกเชิญออก ผู้พํานักบางรายก็กลับบ้านไปหลังมีอาการดีขึ้น สถานสงเคราะห์แห่งนี้ได้รับการสนับสนุนโดยองค์กรการกุศล พวกเขาเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้คํานับเพียงยี่สิบรูปีต่อวันเท่านั้น เพื่อเป็นค่าไฟฟ้าทั้งยังช่วยดูแลค่าใช้จ่ายในพิธียาบนกิจทั้งหมด นอกจากนั้นยังเปิดรับผู้คนจากทุกศาสนาและไม่มีการจองล่วงหน้า ที่นี่มีพนักงานทั้งสิ้นสี่คนรวมถึงนักบวชซึ่งเป็นผู้ประเมินสภาพของบุคคลก่อนจะอนุญาตให้เข้าพักได้เขาเป็นทั้งผู้คอยดูแลและสวดมนต์ให้ผู้พํานักฟังทุกวันด้วยบทสวดจากคัมภีร์ของศาสนาฮินดู บ้านแห่งความหลุดพ้นของคนอินเดียว หลังเสร็จสิ้นพิธียาบนกิจเขายังช่วยโปรยอัฐิของผู้ตายลงในแม่น้ำคงคาด้วย อนุรักษ์ผู้จัดการของบ้านแห่งความหลุดพ้นกล่าวว่า เรามองว่าความตายเป็นการเฉลิมฉลองเราไม่รู้สึกเศร้าหากมีคนตายที่นี่ เรามองว่ามันเป็นเพียงจุดจบของชีวิตมนุษย์และวิญญาณจะได้รับการหลุดพ้นภายหลังของการเสียชีวิตของผู้สูงอายุที่นี่ หลายครั้งถึงกับมีวงดนตรีร่วมฉลองด้วย สนับสนุนการจัดทำโดย ufa108